พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เข้าสู่ระบบ
หน้าแรก
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ค้นหาข้อมูล
เข้าสู่ระบบ
พระสิงห์ป้อนเหย...
พระสิงห์ป้อนเหยื่อ ฝักไม้ขาว
พระสิงห์ป้อนเหยื่อ ฝักไม้ขาว กรุงบางระกำ พิษณุโลก องค์นี้ คราบกรุผิวเดิมๆ สวยแท้ ชอบทักมานะครับ หายากสุดๆ
**สิงห์ป้อนเหยื่อ" เป็นฉายาของพระเครื่องพิมพ์หนึ่งของอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ชาวบ้านมักเรียกกันว่า "ฝักไม้ดำ" และ "ฝักไม้ขาว" พระเครื่อง พิมพ์นี้ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่แน่ชัด มีเพียงเรื่องเล่าขานกันต่อมาถึงที่ไปที่มาว่า...
"ประมาณปี พ.ศ. 2482 มีพระภิกษุรูปหนึ่งพายเรือมาขึ้นที่ตลาดอำเภอบางระกำ พอถึงก็นำถังเหล็กขนาดใหญ่ความจุราว 200 ลิตร ที่อยู่ในเรือขึ้นมา ปรากฏว่าภาย ในถังบรรจุพระเครื่องอยู่เต็ม ท่านจึงนำพระทั้งหมดไปฝากไว้กับคหบดีอำเภอบางระกำ แล้วบอกว่า "ขอฝากพระทั้งหมดนี้ไว้ก่อน แล้วจะมารับคืนในภายหลัง"
ท่านคหบดีได้เก็บรักษาพระเครื่องทั้งหมดไว้นานถึง 3 ปี แต่พระภิกษุรูปนั้นก็หาได้กลับมารับพระคืนไม่ ท่านจึงตัดสินใจขนย้ายพระทั้งหมดไปเก็บรักษาไว้ที่วัด ซึ่งน่าจะเป็นการสมควรกว่า โดยฝากไว้กับพระครูสุนทรประดิษฐ์ เจ้าอาวาสวัดสุนทรประดิษฐ์ในสมัยนั้น ประมาณปี พ.ศ. 2485 ท่านพระครูก็ได้นำพระไปเก็บไว้ในบริเวณพระอุโบสถ และในปีนั้นเองได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่น้ำท่วมอุโบสถ จึงทำให้พระเครื่องที่เก็บไว้ถูกน้ำท่วมไปด้วย เมื่อน้ำลดลงจึงปรากฏคราบตะกอนดินจับเต็มองค์พระ แต่ไม่ใช่ในลักษณะคราบกรุ
พระเครื่อง เหล่านั้นเริ่มปรากฏสู่สายตาภายนอกเมื่อพ่อค้าไม้รายหนึ่งเดินทางไปทำงาน แล้วแวะที่อุโบสถวัดสุนทรประดิษฐ์ จึงนำพระออกมาให้เช่าที่ จ.พิษณุโลก ในสนน ราคาที่สูงพอสมควรในสมัยนั้น ปรากฏว่าผู้ที่เช่าบูชาไปประจักษ์ในพุทธานุภาพ ความต้องการจึงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จำนวนพระเริ่มร่อยหรอลง ท่านเจ้าอาวาสจึงได้นำพระส่วนหนึ่งเก็บซ่อนไว้ แต่ก็ถูกขโมยไปจนหมดในที่สุด"
"ฝักไม้ดำ" ลักษณะเป็นพระพิมพ์ใหญ่ เนื้อผง มีหลายสี ทั้งสีดำ น้ำตาล ขาว และเขียว ด้านหน้าพระประธานแสดงปางลีลา ล้อมรอบด้วยอักขระขอมที่แสดงถึงพระพุทธคุณมากมาย มุมทั้ง 4 ขององค์พระอ่านว่า "นะ มะ พะ ทะ" ส่วนด้านหลังด้านบนมีอักขระขอมว่า "มะ อุ อะ" ตอนกลางมีองค์พระประทับนั่ง 3 องค์ ซ้ายสุดปางสมาธิ องค์กลางปางมารวิชัย และขวาสุดประทับนั่งประนมมือ ถัดลงมาเป็นอักขระขอมว่า "นะ ปะ ทะ อะ ระ หัง" ล่างสุดเป็นรูป "สิงห์ป้อนเหยื่อให้เสือ" อันอาจเป็นที่มาของฉายา "สิงห์ป้อนเหยื่อ" ก็เป็นได้
"ฝักไม้ขาว" จะเป็นพระที่มีขนาดย่อมลงมา ส่วนใหญ่จะมีคราบผิว เนื้อฟู และบางส่วนแตกปริจากการถูกน้ำท่วม พุทธลักษณะขององค์พระมีหลายแบบ ทั้งประทับนั่งและประทับยืน
พิจารณาจากอักขระขอมที่ผู้สร้างบรรจงสร้างสรรค์ลงในองค์พระ ย่อมเป็นที่ประจักษ์ถึงความเพียบพร้อมครบครันของ "ฝักไม้ดำ" และ "ฝักไม้ขาว" ทั้งเจริญรุ่งเรือง เมตตามหานิยม แคล้วคลาด คงกระพันชาตรี แม้ราชสีห์ที่ว่าโหดร้ายยังศิโรราบต่อเมตตาธรรมยอมป้อนเหยื่อให้กับเสือซึ่งเป็นศัตรู จึงนับเป็นที่แสวงหาของนักนิยมสะสมอย่างมาก ยิ่งในสมัยนั้นเหล่าบรรดาทหารหาญต่างพากันดั้นด้นไป อ.บางระกำ เพื่อแสวงหาไว้เป็นเกราะเพชรคุ้มภัยต่างๆ ซึ่งการเดินทางก็เรียกได้ว่า "ระกำ" สมชื่อจริงๆ
แม้แต่ท่านจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังนำ "สิงห์ป้อนเหยื่อ" มาบรรจุตลับฝังเพชรและอาราธนาติดตัวตลอดเวลาครับผม
คอลัมน์ พันธุ์แท้พระเครื่อง :โดย ราม วัชรประดิษฐ์
ผู้เข้าชม
2871 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
painana
ชื่อร้าน
ปายนานาพระเครื่อง
ร้านค้า
painana.99wat.com
โทรศัพท์
0841732332
ไอดีไลน์
painanapra
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 587-0-65558-5
พระกสิณปี05
ปู่ทวด-พ่อแช่มปี11
พระเจ้า10ชาติ
พระขุนแผน+บัตร
จุฬามณี
พระปิดตางาแกะ
พระสีวลีงาแกะ
เขี้ยวเเกะสวยๆ
หลวงพ่อแดง
เก้าสิบเก้าวัด
ร้านพระเครื่อง
กระดานสนทนา
ลงพระฟรี
สมัครสมาชิก
ติดต่อทีมงาน
ลืมรหัสผ่าน
ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
hra7215
โกหมู
โชคเมืองนนท์
ยอด วัดโพธิ์
ภูมิ IR
someman
จิ๊บพุทธะมงคล
tumlawyer
vanglanna
บี บุรีรัมย์
หริด์ เก้าแสน
ชา วานิช
ชาวานิช
โก้ สมุทรปราการ
Yayoi
Chobdoysata
วุฒิระนอง
Joker Tanakron
tangmo
ep8600
Erawan
BAINGERN
chathanumaan
Le29Amulet
praserth
pratharn_p
somphop
Sadman751
ponsrithong2
Beerchang พระเครื่อง
ผู้เข้าชมขณะนี้ 1415 คน
เพิ่มข้อมูล
พระสิงห์ป้อนเหยื่อ ฝักไม้ขาว
ส่งข้อความ
ชื่อพระเครื่อง
พระสิงห์ป้อนเหยื่อ ฝักไม้ขาว
รายละเอียด
พระสิงห์ป้อนเหยื่อ ฝักไม้ขาว กรุงบางระกำ พิษณุโลก องค์นี้ คราบกรุผิวเดิมๆ สวยแท้ ชอบทักมานะครับ หายากสุดๆ
**สิงห์ป้อนเหยื่อ" เป็นฉายาของพระเครื่องพิมพ์หนึ่งของอำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ชาวบ้านมักเรียกกันว่า "ฝักไม้ดำ" และ "ฝักไม้ขาว" พระเครื่อง พิมพ์นี้ไม่ปรากฏหลักฐานการสร้างที่แน่ชัด มีเพียงเรื่องเล่าขานกันต่อมาถึงที่ไปที่มาว่า...
"ประมาณปี พ.ศ. 2482 มีพระภิกษุรูปหนึ่งพายเรือมาขึ้นที่ตลาดอำเภอบางระกำ พอถึงก็นำถังเหล็กขนาดใหญ่ความจุราว 200 ลิตร ที่อยู่ในเรือขึ้นมา ปรากฏว่าภาย ในถังบรรจุพระเครื่องอยู่เต็ม ท่านจึงนำพระทั้งหมดไปฝากไว้กับคหบดีอำเภอบางระกำ แล้วบอกว่า "ขอฝากพระทั้งหมดนี้ไว้ก่อน แล้วจะมารับคืนในภายหลัง"
ท่านคหบดีได้เก็บรักษาพระเครื่องทั้งหมดไว้นานถึง 3 ปี แต่พระภิกษุรูปนั้นก็หาได้กลับมารับพระคืนไม่ ท่านจึงตัดสินใจขนย้ายพระทั้งหมดไปเก็บรักษาไว้ที่วัด ซึ่งน่าจะเป็นการสมควรกว่า โดยฝากไว้กับพระครูสุนทรประดิษฐ์ เจ้าอาวาสวัดสุนทรประดิษฐ์ในสมัยนั้น ประมาณปี พ.ศ. 2485 ท่านพระครูก็ได้นำพระไปเก็บไว้ในบริเวณพระอุโบสถ และในปีนั้นเองได้เกิดอุทกภัยครั้งใหญ่น้ำท่วมอุโบสถ จึงทำให้พระเครื่องที่เก็บไว้ถูกน้ำท่วมไปด้วย เมื่อน้ำลดลงจึงปรากฏคราบตะกอนดินจับเต็มองค์พระ แต่ไม่ใช่ในลักษณะคราบกรุ
พระเครื่อง เหล่านั้นเริ่มปรากฏสู่สายตาภายนอกเมื่อพ่อค้าไม้รายหนึ่งเดินทางไปทำงาน แล้วแวะที่อุโบสถวัดสุนทรประดิษฐ์ จึงนำพระออกมาให้เช่าที่ จ.พิษณุโลก ในสนน ราคาที่สูงพอสมควรในสมัยนั้น ปรากฏว่าผู้ที่เช่าบูชาไปประจักษ์ในพุทธานุภาพ ความต้องการจึงเพิ่มสูงขึ้นเรื่อยๆ จำนวนพระเริ่มร่อยหรอลง ท่านเจ้าอาวาสจึงได้นำพระส่วนหนึ่งเก็บซ่อนไว้ แต่ก็ถูกขโมยไปจนหมดในที่สุด"
"ฝักไม้ดำ" ลักษณะเป็นพระพิมพ์ใหญ่ เนื้อผง มีหลายสี ทั้งสีดำ น้ำตาล ขาว และเขียว ด้านหน้าพระประธานแสดงปางลีลา ล้อมรอบด้วยอักขระขอมที่แสดงถึงพระพุทธคุณมากมาย มุมทั้ง 4 ขององค์พระอ่านว่า "นะ มะ พะ ทะ" ส่วนด้านหลังด้านบนมีอักขระขอมว่า "มะ อุ อะ" ตอนกลางมีองค์พระประทับนั่ง 3 องค์ ซ้ายสุดปางสมาธิ องค์กลางปางมารวิชัย และขวาสุดประทับนั่งประนมมือ ถัดลงมาเป็นอักขระขอมว่า "นะ ปะ ทะ อะ ระ หัง" ล่างสุดเป็นรูป "สิงห์ป้อนเหยื่อให้เสือ" อันอาจเป็นที่มาของฉายา "สิงห์ป้อนเหยื่อ" ก็เป็นได้
"ฝักไม้ขาว" จะเป็นพระที่มีขนาดย่อมลงมา ส่วนใหญ่จะมีคราบผิว เนื้อฟู และบางส่วนแตกปริจากการถูกน้ำท่วม พุทธลักษณะขององค์พระมีหลายแบบ ทั้งประทับนั่งและประทับยืน
พิจารณาจากอักขระขอมที่ผู้สร้างบรรจงสร้างสรรค์ลงในองค์พระ ย่อมเป็นที่ประจักษ์ถึงความเพียบพร้อมครบครันของ "ฝักไม้ดำ" และ "ฝักไม้ขาว" ทั้งเจริญรุ่งเรือง เมตตามหานิยม แคล้วคลาด คงกระพันชาตรี แม้ราชสีห์ที่ว่าโหดร้ายยังศิโรราบต่อเมตตาธรรมยอมป้อนเหยื่อให้กับเสือซึ่งเป็นศัตรู จึงนับเป็นที่แสวงหาของนักนิยมสะสมอย่างมาก ยิ่งในสมัยนั้นเหล่าบรรดาทหารหาญต่างพากันดั้นด้นไป อ.บางระกำ เพื่อแสวงหาไว้เป็นเกราะเพชรคุ้มภัยต่างๆ ซึ่งการเดินทางก็เรียกได้ว่า "ระกำ" สมชื่อจริงๆ
แม้แต่ท่านจอมพล ป.พิบูลสงคราม ยังนำ "สิงห์ป้อนเหยื่อ" มาบรรจุตลับฝังเพชรและอาราธนาติดตัวตลอดเวลาครับผม
คอลัมน์ พันธุ์แท้พระเครื่อง :โดย ราม วัชรประดิษฐ์
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
2894 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
painana
ชื่อร้าน
ปายนานาพระเครื่อง
URL
http://www.painana.99wat.com
เบอร์โทรศัพท์
0841732332
ID LINE
painanapra
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกรุงเทพ / 587-0-65558-5
กำลังโหลดข้อมูล
หน้าแรกลงพระฟรี